บทความ
การได้ยินดี ลดความเสี่ยงภาวะสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุ
เสริมสร้างการได้ยินดี สุขภาพจิตดี เมื่อเข้าสู่วัยเกษียณ
เสียงแจ้งเตือนจากเครื่องช่วยฟัง ที่ควรรู้
คุณภาพการได้ยินดีอย่างต่อเนื่อง เครื่องช่วยฟังดูแลโดย ผู้เชี่ยวชาญเครื่องช่วยฟัง
7 เคล็ดลับ รับมือเสียงรบกวนภายในร้านอาหาร เมื่อคุณใส่เครื่องช่วยฟัง
สัมผัสเสียงดัง สูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง (Noise-induced hearing loss)
Presbycusis สูญเสียการได้ยินเกี่ยวข้องกับอายุ
5 ปัจจัย ออดิโอแกรมเดียวกัน ผลลัพธ์การได้ยินแตกต่างกัน
ศูนย์เครื่องช่วยฟัง มีอะไร ให้บริการด้านใด
ส่งเสริมคุณภาพชีวิตดี การได้ยินดี ด้วยเครื่องช่วยฟังอย่างดี
4 เคล็ดลับ การส่งเสริมสุขภาวะที่ดี การได้ยินดี ให้กับผู้สูงอายุที่คุณรัก
อย่าเพิกเฉย กับการ บำรุงรักษาเครื่องช่วยฟัง
สมดุลการได้ยินดี ชีวิตดี ด้วยการใส่เครื่องช่วยฟัง
สูญเสียการได้ยิน กับการเชื่อมโยงภาวะสมองเสื่อม
โอเมก้า 3 (Omega 3) กับการได้ยิน
สูญเสียการได้ยิน ความถี่สูง กับการเลือกเครื่องช่วยฟัง
เทคโนโลยีช่วยการได้ยิน หูฟังไร้สาย AirPods กับเครื่องช่วยฟังคุณภาพสูง
Accessory Kit ชุดอุปกรณ์เสริม สำหรับดูแลรักษาเครื่องช่วยฟัง
Dry Bag ดินดูดความชื้น โซลูชั่นเพื่อการถนอมเครื่องช่วยฟัง
ลงทุนเครื่องช่วยฟัง อย่างไรให้คุ้มค่า
ยืดอายุการใช้งานให้กับ แบตเตอรี่เครื่องช่วยฟัง
ยาเป็นพิษต่อหู ส่งผลต่อการได้ยิน เสียงดังในหู หูอื้อ
อุปกรณ์ช่วยการได้ยิน เลือกอย่างเหมาะสม ใช้งานอย่างคุ้มค่า
คัดกรองการได้ยิน ผู้สูงอายุ หูไม่ได้ยิน
5 เป้าหมาย การได้ยินดี สุขภาพดี แบบยั่งยืน
เตรียมความพร้อมให้กับ เครื่องช่วยฟัง ช่วงเทศกาลวันหยุดยาว
เครื่องช่วยฟัง โรงพยาบาล ซื้ออย่างไร ราคาเท่าไหร่?
เครื่องช่วยฟัง เสียงเบา เกิดจากอะไร ควรทำอย่างไร
เครื่องช่วยฟังดิจิตอล คุณภาพสูง กับการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
อันตรายของเสียง กับการสูญเสียการได้ยิน หูตึง
สภาพอากาศ ที่เครื่องช่วยฟังควรหลีกเลี่ยง
2 เทคนิค ฟื้นฟูการฟัง หลังใส่เครื่องช่วยฟังในผู้สูงอายุ
4 เทคนิค การออกกำลังกายสำหรับ ผู้มีปัญหาการได้ยิน และผู้ใส่เครื่องช่วยฟัง
เชื่อมโยงทุกการสื่อสาร เทคโนโลยีเครื่องช่วยฟัง สำหรับผู้สูญเสียการได้ยิน
คุณสมบัติที่เหนือกว่า ความแตกต่างที่มีอยู่ใน เครื่องช่วยฟังดิจิตอล คุณภาพสูง
ใส่เครื่องช่วยฟัง วันละกี่ชั่วโมง ใส่อย่างไรให้ได้รับประโยชน์สูงสุด
การได้ยินดี ห่างไกลภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
เครื่องช่วยฟัง ผู้สูงอายุ และฟังก์ชันการใช้งาน
Dry Bag สารดูดความชื้น ปกป้องเครื่องช่วยฟังจากความชื้น
ลงทุน เครื่องช่วยฟัง คุณภาพสูง เทคโนโลยีเพื่อการได้ยิน
3 เทคนิค การเริ่มต้น ใส่เครื่องช่วยฟัง เป็นครั้งแรก
ทำความสะอาดเครื่องช่วยฟัง สำคัญอย่างไร
ท่อนำเสียง อ่อนโยนต่อผิว ด้วยวัสดุปลอด PVC-Free
ผู้สูงอายุ หูตึง หูไม่ได้ยิน รับมืออย่างไร
9 ประโยชน์ ของการ ใส่เครื่องช่วยฟัง 2 ข้าง
รับมือการ สูญเสียการได้ยิน วัยทำงาน
5 เคล็ดลับ เอาชนะความท้าทาย สูญเสียการได้ยิน วัยทำงาน
หูซ้าย และหูขวา รับรู้เสียงแตกต่างกัน
เครื่องช่วยฟัง ขนาดเล็ก แบบในช่องหู
สูญเสียการได้ยิน เด็ก ทารกแรกเกิด
เครื่องช่วยฟังเปียกน้ำ ต้องทำอย่างไร?
หู คอ จมูก กับการได้ยิน
ทำไมต้อง ตรวจการได้ยิน
ฝุ่น PM 2.5 อันตราย สำหรับผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัว
เลือกเครื่องช่วยฟังอย่างไร สำหรับนักเดินทาง
คาเฟอีนกับการได้ยิน
ตรวจการได้ยิน ทดสอบการได้ยิน (Hearing Test) คืออะไร
เครื่องช่วยฟัง มีอายุการใช้งานกี่ปี
หวัด ไข้หวัดใหญ่ อันตรายสำหรับผู้สูงอายุ
เครื่องช่วยฟัง ซื้อที่ไหนได้บ้าง
เทคโนโลยีเครื่องช่วยฟัง กับผู้ใช้งานภาษาไทย
สัญญาณบ่งชี้ว่า คุณมีปัญหาการได้ยิน
เครื่องช่วยฟังกับผู้สูงอายุ
22 มิลลิวินาที เทคโนโลยีขจัดเสียงหวีดรบกวนออกจากเครื่องช่วยฟัง
เครื่องช่วยฟังคุณภาพสูง vs เครื่องช่วยฟังทั่วไป
หูตึงมาก ควรเลือกเครื่องช่วยฟังแบบใด
ขี้หูอุดตัน เครื่องช่วยฟังเสียงไม่ชัดเจน
ดูแลเครื่องช่วยฟังอย่างไร ให้ใช้งานเครื่องได้นานๆ
5 ข้อควรรู้ ก่อนตัดสินใจซื้อเครื่องช่วยฟัง
เครื่องช่วยฟังปราศจากความชื้น ด้วยเครื่องอบความชื้น Dry and Store
โรคเกลียดเสียง โรคทางจิตเวชชนิดหนึ่ง
กรมควบคุมโรค เตือนประชาชนภาคเหนือเฝ้าระวังโรคไข้หูดับ ปีพ.ศ.2564
10 เทคนิค การเริ่มต้นใส่เครื่องช่วยฟัง
สปสช. กับการเบิกอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง
สิทธิการเบิกเครื่องช่วยฟัง สำหรับประกันสังคม
ท่อยูสเตเชียน กับอาการเสียงดังในหู
การดูแลและป้องกันเครื่องช่วยฟังจากน้ำหรือเหงื่อ
ทำไมต้อง “ดินไดอะตอม” สารดูดความชื้นสำหรับเครื่องช่วยฟัง
4 ข้อควรรู้ ประสาทหูเสื่อมในวัยผู้สูงอายุ
ช็อกโกแลตกับการได้ยิน
7 ข้อ เตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ โควิด-19
ผู้บกพร่องทางการได้ยินมีความเสี่ยงสูงในการติดเชื้อไวรัส COVID-19
5 วิธีป้องกัน "หูตึง"
Hearing Care Package ผลิตภัณฑ์ดูแลรักษาเครื่องช่วยฟัง และประสาทหูเทียม
ลูกของเรา ได้ยินปกติหรือไม่?
OAE คืออะไร ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ
กินเค็มมากไป เสี่ยงต่อการได้ยินลดลง
10 ปัจจัย กับประสิทธิภาพการใช้งานประสาทหูเทียม
ขั้นตอน การใช้สารดูดความชื้นเครื่องช่วยฟัง DRY BAG
โฟลิก โฟเลต กับการได้ยินในผู้สูงอายุ
เครื่องช่วยฟัง กับ "ความชื้น"
8 วิธี ชะลอความเสื่อมของประสาทหู
น้ำเข้าหู ทำอย่างไรดี?
5 เหตุผล กับการปฏิเสธการทดสอบการได้ยิน
รู้จัก กับ "แบตเตอรี่เครื่องช่วยฟัง"
โรคประจำตัว ภัยร้ายเสี่ยงต่อการได้ยินลดลง
วิตามินบี กับการเสริมสร้างการได้ยิน
ประสาทหูเทียม กับความคาดหวังของผู้ปกครอง (สำหรับเด็ก)
4 วิธีการสื่อสารกับผู้ใส่เครื่องช่วยฟัง
ประสาทหูเทียม กับความคาดหวังของผู้เข้ารับการผ่าตัด (สำหรับผู้ใหญ่)
หูตึงกับผู้สูงอายุ
ประสาทหูเสื่อมเฉียบพลัน หูไม่ได้ยินทันทีทันใด
เนื้อหมู สุกๆ ดิบๆ เสี่ยง "โรคไข้หูดับ"
สิทธิการเบิกประสาทหูเทียม สำหรับข้าราชการ
ประเภทการสูญเสียการได้ยิน
สาเหตุความบกพร่องทางการได้ยิน
ขั้นตอนการผ่าตัดประสาทหูเทียม
การผ่าตัดประสาทหูเทียม ต้องทำอย่างไร
สถานการณ์คนพิการในประเทศไทย
หูดับเฉียบพลัน อยู่ดีๆ ก็ไม่ได้ยิน
5 ความเชื่อถูกผิด เกี่ยวกับ "หูตึง"
5 สมุนไพรช่วยหูตึง
คุณสมบัติเครื่องช่วยฟัง ที่เราควรรู้
9 ข้อควรรู้ ก่อนซื้อเครื่องช่วยฟัง
ฟันผุ นำไปสู่ หูตึง
หูดับถึงตาย จากลาบหมูดิบ
ดูแลเครื่องช่วยฟัง ให้ใช้ได้นานๆ
ข้อดีและข้อเสียของเครื่องช่วยฟังขนาดเล็ก
ทำอย่างไร ถ้าคนที่เรารักมีปัญหาการได้ยิน
จะใส่เครื่องช่วยฟังดีไหมนะ?
ประสาทหูเทียม เหมาะกับคุณหรือไม่?
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้สูญเสียการได้ยิน
เสียงรบกวนจากเครื่องช่วยฟัง แก้ไขอย่างไรดี?
จากเด็กหูหนวก เติบโตเป็นคุณแม่ที่ได้ยินเสียงลูก
เมื่อเครื่องช่วยฟัง ให้มากกว่า “การได้ยิน”
อะไรคือ โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน?
หูดับหูหนวก และประสาทหูเทียม
บอกรักให้แม่ “ได้ยิน”
6 วิธีสื่อสาร สำหรับคนหูตึง
หูตึง แล้วจะคุยมือถือ ดูทีวียังไงดี?
ซิมโทรศัพท์มือถือ สำหรับคนพิการ
5 ข้อควรรู้ ซื้อเครื่องช่วยฟังจากอินเตอร์เน็ต
สิทธิการเบิก เครื่องช่วยฟัง และประสาทหูเทียม
วิธีแก้หูอื้อบนเครื่องบิน
พ่อแม่เริ่มหูตึง จะแนะนำเขายังไงดี?
5 ข้อควรรู้ เมื่อแมลงเข้าหู
ทำไมจึงควรพาพ่อแม่ไปตรวจ “หูตึง”?
9 สัญญาณเสี่ยงหูตึง
เวียนศีรษะ บ้านหมุน
แคะหู ดีหรือไม่ดี?
หูตึงกับโรคสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุ
เสียงดังในหู อาการบอกโรค
4 วิธี ดูแลเครื่องช่วยฟัง
หูตึงก็สื่อสารง่ายด้วย 6 วิธีนี้
คำถามที่พบบ่อย
แบตเตอรี่ เครื่องช่วยฟัง
เครื่องช่วยฟังเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยประจุไฟจากแบตเตอรี่ ปัจจุบันแบตเตอรี่มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ แบบใช้แล้วทิ้ง และแบบชาร์จไฟ
ข้อควรรู้ แบตเตอรี่เครื่องช่วยฟังแบบใช้แล้วทิ้ง เป็นแบตเตอรี่ชนิด Zinc Air เมื่อดึงสติ๊กเกอร์ที่แบตเตอรี่ออก ให้ทิ้งแบตเตอรี่ไว้ 1 – 2 นาที เพื่อให้อากาศเข้าไปทำปฏิกิริยาในการสร้างประจุไฟ และก่อนนำแบตเตอรี่ใส่เข้ากับเครื่องช่วยฟัง โปรดสังเกตขั้วบวก (+) ขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ก่อนใส่ทุกครั้ง
เมื่อใดที่ดึงสติ๊กเกอร์แบตเตอรี่ออก แบตเตอรี่จะเริ่มทำงาน ไม่สามารถติดสติ๊กเกอร์กลับไปใหม่ได้
พิมพ์หู เครื่องช่วยฟัง
เครื่องช่วยฟังจะเชื่อมต่อด้วยท่อนำเสียง และพิมพ์หู/จุกยาง
ข้อควรรู้ พิมพ์หูจะไม่สามารถใส่สลับข้างกันได้ โปรดสังเกตสีที่พิมพ์หู ดังนี้
สีแดง คือ ข้างขวา สีน้ำเงิน คือ ข้างซ้าย
ปัญหาพิมพ์หู
1. เมื่อใส่เครื่องแล้ว ไม่ได้ยินเสียงจากเครื่องช่วยฟัง
2. เมื่อพูดแล้ว เสียงของตัวเองฟังดูอู้อี้
3. เมื่อพูดแล้ว เสียงของตัวเองดังเกินไป
4. เมื่อใส่พิมพ์หูแล้ว มีอาการเจ็บ หรือระคายเคืองช่องหู
อ่านเพิ่มเติม : ปัญหาพิมพ์หู
วิธีการตัดท่อนำเสียง เครื่องช่วยฟัง
- กรณีความยาวท่อนำเสียงไม่พอดีกับการสวมใส่เครื่องช่วยฟัง
- กรณีทำพิมพ์หูใหม่
ขั้นตอนการตัดท่อนำเสียง (Tube) เพื่อต่อเข้ากับเครื่องช่วยฟัง
คลิกชม ขั้นตอนและ VDO สาธิต
ปุ่มเพิ่ม - ลด เสียงเครื่องช่วยฟัง
กดปุ่มเพิ่ม – ลดเสียง ได้ด้วยตนเอง ดังนี้
- กดปุ่มบน เพิ่มเสียง
- กดปุ่มล่าง ลดเสียง
เครื่องช่วยฟังบางรุ่นมีปุ่มกดเพียงปุ่มเดียว โปรดสอบถามการตั้งค่ากับเจ้าหน้าที่เครื่องช่วยฟัง
หมายเหตุ กรณีต้องการกลับไปการตั้งค่าเดิม ให้เปิดและปิดรังถ่านอีกครั้ง เครื่องจะรีเซ็ทกลับมาเป็นค่าเสียงเดิมที่ตั้งไว้
สารดูดความชื้นเครื่องช่วยฟัง
หลังจากเลิกใช้งาน ให้แยกแบตเตอรี่ออกจากเครื่องช่วยฟังทุกครั้ง และนำเครื่องช่วยฟังเปิดรังถ่านทิ้งไว้ ก่อนนำเครื่องเก็บไว้ในกระปุกที่บรรจุสารดูดความชื้น พร้อมปิดฝากระปุกให้สนิท
ข้อควรรู้ การแยกแบตเตอรี่ออกจากเครื่องช่วยฟัง จะช่วยลดการเกิดสนิมที่รังถ่าน และการเก็บเครื่องช่วยฟังไว้ในกระปุกสารดูดความชื้น จะช่วยดูดความชื้นออกจากตัวเครื่อง ลดโอกาสที่ความชื้นจะสร้างความเสียหายให้กับแผงวงจรภายในเครื่องช่วยฟัง
เครื่องช่วยฟังมีเสียงวี๊ด
เครื่องช่วยฟังมีเสียงวี๊ด ขณะใส่เครื่อง อาจเกิดจากการใส่พิมพ์หูไม่สนิท พิมพ์หูหลวม มีขี้หู หรือจากตัวเครื่องช่วยฟัง
- กรณีใส่พิมพ์หูไม่สนิท ตรวจเช็คการใส่พิมพ์หูว่าสนิทหรือไม่โดยการดึงใบหูไปข้างหลังและใช้นิ้วกดเบาๆ เพื่อให้พิมพ์หูสนิท เสียงวี๊ดก็จะหายไป
- กรณีพิมพ์หูหลวมสามารถเช็คได้โดยใช้นิ้วกดที่พิมพ์หู หากเสียงวี๊ดหายแสดงว่าพิมพ์หูอาจจะหลวม หรือเสื่อมสภาพควรทำพิมพ์หูใหม่
- กรณีเกิดจากตัวเครื่อง แนะนำให้นำเครื่องเข้ามาตรวจเช็ค ณ ศูนย์บริการ
เครื่องช่วยฟังเงียบ
เครื่องช่วยฟังเงียบ อาจเกิดจากการอุดตันของท่อนำเสียง พิมพ์หู หรือเกิดจากตัวเครื่องช่วยฟัง
- เช็คจำนวนวันในการใช้ถ่าน แล้วลองเปลี่ยนถ่านก้อนใหม่ดูอีกครั้ง
- ตรวจเช็คบริเวณท่อนำเสียงตลอดจนถึงปลายพิมพ์หูว่ามีอะไรอุดตันหรือไม่
- หากมีน้ำให้ใช้ลูกยางบีบไล่น้ำออก
- หากมีขี้หูอุดตันบริเวณปลายพิมพ์หู ให้ใช้แปรงสีฟันปัดออก
เครื่องช่วยฟังโดนน้ำ
เครื่องช่วยฟังช็อต จากเหงื่อ หรือโดนน้ำ
- รีบนำถ่านออกจากตัวเครื่อง
- ใช้ลูกยางเป่าไล่ความชื้นให้มากที่สุด
- เก็บเครื่องไว้ในสารดูดความชื้น
- หรือ นำเครื่องตรวจเช็ค ณ ศูนย์บริการฯ
วิดีโอ
วิธีตรวจการได้ยินให้ได้ผลแม่นยำ
นักแก้ไขการได้ยินของเรา
จะมาอธิบายวิธีตรวจการได้ยิน
ให้เห็นภาพอย่างละเอียด
ประสบการณ์ผู้ผ่าตัดประสาทหูเทียม
หลังจากเปิดใช้งานเครื่องเป็นระยะเวลา 5 เดือน
คุณบัวรมย์
ผู้ไม่ได้รับประโยชน์จากเครื่องช่วยฟัง
ถ้าไม่มีประสาทหูเทียม ผมคงจะ…
Le Peng Tee จากที่เคยหูหนวก
พอใส่ประสาทหูเทียม
ปัจจุบันเป็นนักพูดในที่สาธารณะ
ประสบการณ์จริงการใช้เครื่องช่วยฟัง
คุณวงศ์รมัย นันธโชคทวีชัย
บรรยายความรู้สึกการใส่เครื่องช่วยฟัง
ที่ช่วยเติมเต็มชีวิตอย่างมีความสุข
ทดสอบง่ายๆ ว่าคุณหูตึงไหม?
ใช้นิ้วชี้และนิ้วโป้งถูกันจนเกิดเสียงเบาๆ
ยกมือขึ้นใกล้หูประมาณ 1 นิ้ว
หากไม่ได้ยิน ก็เสี่ยงหูตึง
เชื่อมต่อเครื่องช่วยฟัง กับมือถือและทีวี
อยากใช้เครื่องช่วยฟัง
ได้ยินชัดขึ้นเวลาคุยโทรศัพท์มือถือ
หรือชมละครในโทรทัศน์
หูดับ กลับมาได้ยินอีกครั้ง ด้วยประสาทหูเทียม
หูหนวก หูดับ จากการทานลาบดิบ
จนเป็นไข้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ก็กลับมาได้ยินอีกครั้งด้วยประสาทหูเทียม
ประสบการณ์เครื่องช่วยฟัง จากคุณหนุ่ม รุ่งอรัณ
ใส่เครื่องช่วยฟังแล้วดีอย่างไร?
คงไม่มีใครตอบได้ดีไปกว่าผู้ใช้เครื่องช่วยฟังจริง
ถ่านเครื่องช่วยฟังหมดเร็ว ทำไงดี?
ทำไมถ่านเครื่องช่วยฟังหมดเร็ว?
การใส่ถ่านแบบถูกวิธีทำอย่างไร?
เก็บถ่านไว้กับสารดูดความชื้นได้ไหม?
5 ข้อสังเกตของปัญหาการได้ยิน
ก็พูดและฟังได้ตามปกติ
จะรู้ได้อย่างไรว่ามีปัญหาการได้ยิน?
Super Hearo
หูหนวกที่ได้รับการผ่าตัดประสาทหูเทียม
ก็สามารถได้ยินเหมือนคนปกติ
เมื่อเครื่องช่วยฟังมีเสียงหวีด?
ทำไมบางครั้งเครื่องช่วยฟังมีเสียงหวีด?
เรามีคำตอบและวิธีแก้ไขเบื้องต้นให้
รู้จักกับถ่านเครื่องช่วยฟัง
ทำความรู้จักกับถ่านเครื่องช่วยฟังแบบไร้สารปรอท
และวิธีการใส่ถ่านให้ยืดอายุการใช้งานได้นานที่สุด